หน่วยที่ 4

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic Component) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่แยกออกเป็นชิ้นย่อยๆเป็นเอกเทศหรือเป็นอุปกรณ์ที่มีเอกลักษณ์ทางกายภาพในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการส่งผลกระทบต่ออิเล็กตรอนหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอน ตัวอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมากกว่าสองขั้วไฟฟ้า(ขาหรือลีดส์) เมื่อนำขาของชิ้นส่วนหลายชนิดมาบัดกรีเข้าด้วยกันบนแผงวงจรพิมพ์จะสร้างเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (วงจรย่อย) ที่มีฟังก์ชันที่เฉพาะเจาะจง (เช่นเครื่องขยายสัญญาณ, เครื่องรับสัญญาณวิทยุหรือ oscillator) ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานอาจจะถูกเก็บในบรรจุภัณฑ์แยกชนิดกัน หรือจัดเรียงเป็นแถวหรือเครือข่ายของส่วนประกอบที่เหมือนกันหรือผสมกันภายในแพคเกจเช่นวงจรรวมเซมิคอนดักเตอร์, แผงวงจรไฟฟ้าไฮบริดหรืออุปกรณ์ฟิล์มหนา. รายการของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่อไปนี้ มุ่งเน้นไปที่ชิ้นส่วนที่แยกเป็นเอกเทศโดยถือว่าแพคเกจที่พูดถึงเป็นชิ้นส่วนเอกเทศตามนัยของมันเอง ในบทความนี้ คำว่าชิ้นส่วนและอุปกรณ์ มีความหมายเหมือนกัน เนื้อหา [ซ่อน] 1 การจัดหมวดหมู่ 2 อุปกรณ์ Active 2.1 สารกึ่งตัวนำ 2.1.1 ไดโอด 2.1.2 ทรานซิสเตอร์ 2.1.3 แผงวงจรรวม 2.1.4 อุปกรณ์ Optoelectronic 2.2 เทคโนโลยีจอแสดงผล 2.3 หลอดสูญญากาศ (วาล์ว) 2.4 อุปกรณ์ discharge 2.5 แหล่งพลังงาน 3 อุปกรณ์ Passive 3.1 ตัวต้านทาน (Resistor) 3.2 ตัวเก็บประจุ (Capacitor) 3.3 อุปกรณ์เหนี่ยวนำแม่เหล็ก (Inductor) 3.4 เครือข่าย 3.5 ทรานสดิวเซอร์, ตัวเซ็นเซอร์, ตัวตรวจจับ 3.6 เสาอากาศ 3.7 ส่วนประกอบ, โมดูล 4 เครื่องกลไฟฟ้า 4.1 อุปกรณ์ piezoelectric คริสตัล resonators 4.2 ขั้วไฟฟ้าและหัวต่อ 4.3 สายเคเบิล 4.4 สวิทช์ 4.5 อุปกรณ์ป้องกัน 4.6 ส่วนประกอบเครื่องกล 5 สัญลักษณ์มาตรฐาน 6 ดูเพิ่ม 7 อ้างอิง การจัดหมวดหมู่[แก้] ชิ้นส่วนหนึ่งชิ้นอาจจำแนกเป็นพาสซีฟ, หรือแอคทีฟหรือกลไกอิเล็กตรอน อุปกรณ์พาสซีฟหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยไม่ต้องจ่ายพลังงานไฟฟ้าหรือทำงานด้วยคุณสมบัติเฉพาะทางฟิสิกซ์ของตัวเองเช่นตัวต้านทาน อุปกรณ์แอคทีฟหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยต้องจ่ายพลังงานเช่นทรานซิสเตอร์หรืออุปกรณ์ผลิตพลังงานเช่นเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์กลไกอิเล็กตรอนหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยการใช้การเคลื่อนไหว เช่นคริสตัล(สั่นเพื่อผลิตความถี่), สวิทช์(ปิด/เปิด) อุปกรณ์ Active[แก้] สารกึ่งตัวนำ[แก้] ไดโอด[แก้] ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว ไดโอด - ให้กระแสไหลผ่านทางเดียว ใช้ทำวงจรเรียงกระแส สก็อตต์กี้ไดโอด, ไดโอดพาหะร้อน - ไดโอดความเร็วสูง เมื่อกระแสไหลมีแรงดันตกคร่อมต่ำ ซีเนอร์ไดโอด - ยอมให้กระแสไหลผ่านในทิศทางย้อนกลับเพื่อให้แรงดันอ้างอิงคงที่ ไดโอดลดแรงดันไฟฟ้าชั่วคราว Transient voltage suppression diode (TVS) , Unipolar หรือไบโพลาร์ - ใช้ในการดูดซับ spikes แรงดันสูง วาแรกเตอร์, จูนนิ่งไดโอด, Varicap ไดโอด, ไดโอดความจุแปรได้ - ไดโอดที่มีค่าความเก็บประจุ(capacitance) AC แปรผันตามแรงดันไฟ DC ที่ใช้ ไดโอดเปร่งแสง, light-emitting diode (LED) - ไดโอดที่ปล่อยแสงออกมา เลเซอร์ไดโอด - เลเซอร์เซมิคอนดักเตอร์ โฟโต้ไดโอด - ให้กระแสผ่านเป็นสัดส่วนกับแสงที่ตกกระทบ โฟโต้ไดโอดถล่มถลาย - โฟโต้ไดโอดที่ผ่านกระแสแบบถล่มถลาย เซลล์แสงอาทิตย์, เซลล์โฟโต้โวลตาอิค(PV cell) - สร้างพลังงานจากแสง ไดแอค (Diode for Alternating Current), Trigger Diode, SIDAC – ใช้จุดชนวน SCR (ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน) ไดโอดกระแสคงที่ เพวเทียคูลเลอร์ Peltier cooler – สารกึ่งตัวนำถ่ายเทความร้อน ใช้แทน heat sink ทรานซิสเตอร์[แก้] ทรานซิสเตอร์ถือว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ของศตวรรษที่ยี่สิบที่ทำให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนไปตลอดกาล ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่ใช้ในการขยายสัญญาณและเปิดปิดสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์และพลังงานไฟฟ้า ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์สองขั้ว (Bipolar Junction Transistor) - ใช้ 2 ขั้วของกระแสคืออิเล็กตรอน(ลบ Negative)และโฮล(บวก Positive) - NPN หรือ PNP โฟโต้ทรานซิสเตอร์ - ทำงานเมื่อถูกแสง ทรานซิสเตอร์ดาร์ลิงตัน - ต่อทรานซิสเตอร์แบบ NPN หรือ แบบ PNP สองตัวคู่กัน โฟโต้ดาร์ลิงตัน - ทำงานด้วยแสง Sziklai pair - เหมือนทรานซิสเตอร์ดาร์ลิงตัน แต่ผสม PNP กับ NPN แผงวงจรรวม[แก้] ดิจิทัล แอนะล็อก Hall effect sensor - ตรวจจับสนามแม่เหล็ก Current sensor - ตรวจจับกระแสที่ไหลผ่าน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น